วันจันทร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2555

การประยุกต์ใช้งานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

 การประยุกต์ใช้งานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
           ระบบเครือข่ายทำให้เกิดการสื่อสารและการแบ่งปันการใช้ทรัพยยากรระหว่างเครื่งคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะหมายทั้งหมด

  รูปแบบการใช้งานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายแบ่งตามลักษณะการทำงาน ได้เป็น 3ประเภท
1  ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง
2  ระบบเครือข่ายแบบ peer-to Peer
3 ระบบเครือข่ายแบบ Client/ Server

              1 ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง
     เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผล ตั้งอยู่ที่ศูนย์กลางและมีการเชื่อมต่อไปยังเครื่องเทอร์มินนอลที่อยู่รอบๆ ใช้การเดินสายเคเบิลเชื่อมต่อกันโดยตรง เพื่อส่งคำสั่งต่างๆ มาประมวลผลท่เครื่องกลางซึ่งมักเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมประสิทธิภาพสูง
               2 ระบบเครือข่ายแบบ peer-to Peer
      แต่ละสถานืงานบนระบบเครือข่าย Peer- to Peer จะมีความเท่าเทียมกันกับสามารถที่จะแบ่งปันทรัพยากรให้แก่กันและกันได้ เช่น การใช้เครืองพิมพ์หรือแฟ้มข้อมูลร่วมกันในเครือข่าย เคริ่องแต่ละสถานีงานมีขีดความสามารถในการทำงานได้ด้วยตัวเอง
               3 ระบบเครือข่ายแบบ Client/ Server
ระบบเครือข่ายแบบ Client/ Server สามารถสนับสนุนให้มีเครื่องลูกข่ายได้เป็นจำนวนมาก และสามารถเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้หลายสถานี ทำงานโดยมีเครื่อง Server ที่ให้บริการเป็นศูนย์กลางอย่างน้อย1เครื่อง และมีการบริหารจัดการทรัพพยากรต่างๆจากส่วนกลาง ซึ่งคล้ายกับระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง

โครงสร้างเครือข่าย

 โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1  เครือข่ายเฉพราะที่   เป็นเครือข่ายที่มักพบเห็นกันในองค์กรโดยส่วนใหญ่ลักษณะของการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวง LAN จะอยู่ในพื้นที่ใกล้๐กันเช่น อยู้ภายในอาคาร 2  เครือข่ายเมือง เป็นกลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นำมาเชื่อมต่อกันเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น ภายในพื้นที่ใกล้เคียง เช่น ในเมืองเดียวกัน เป็นต้น
3  เครือข่ายบริเวณกว้าง เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นไปอีกระดับ โดยเป็นการรวมเครือข่ายทั้ง LAN และ MAN มาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายเดียว ดังนั้น เครือข่ายนี้จึงครอบคลุมพื้นที่กว้าง โดยมีการครอบคลุมไปทั้วประเทศ หรีอทั่วโลก เชน อินเทอร์เน็ต ซึ่งถือเป็นเครือข่ายสาธารณะที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ

       รูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย Network Topology
 การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย มีรูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย อันเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์และการเดินสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย รวมถึงหลัการไหลเวียนข้อมูลในเครือข่ายแบ่งได้ 4 แบบคือ1เครือข่ายแบบดาว 2เครือข่ายแบบวงแหวน 3เครือข่ายแบบบัส 4เครือข่ายแบบต้นไม้

  1 แบบดาว เป็นแบบการต่อสายเชื่อมโยงโดยการนำสถานีต่างๆมาต่อร่วมกันกับหน่วยสลับสายกลาง การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ด้ยวการติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง การทำงานของหน่วยสลับกลาง
    ลักษณะการทำงานของเครือข่ายแบบดาว
 เป็นการเชื่อมโยงการติดต่อสื่อสารที่มีลักษณะคล้ายรูปดาวหลายแฉก โดยมีสถานีกลาง หรือฮับเป็นจุดผ่านการติดต่อกันระหว่างทุกโหนดในเครือข่าย สถานีกลางจึงมีหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมเส้นทางการสื่อสารทั้งหมด การสื่อสารภายในเครือข่ายแบบดาวจะเป็นแบบ 2 ทิศทางฏกยจะอนุญาตให้มีเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้
 2  แบบวงแหวน เป็นแบบที่สถานีของเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกับเครื่องขยายสัญญาณของตัวเองโดยตะมีการเชื่อมโยงของสัญญาณของทุกสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน เครื่อข่ายสัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่ในการรับข้อมูลจากเครืองขยายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อยๆเป้นวงหากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใด เครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้นก็รับและส่งให้กับสถานี
 3 แบบบัส เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ต่างๆด้วย สายเคเบิ้ลยาว ต่อเนื่องไปเรื่อยๆโดยจะมีอุปกรณ์ที่เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เข้ากับสายเคเบิ้ล ในการส่งข้อมูล จะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆ การจัดส่งข้อมูลวิธีนี้จะต้องกำหนดวิธีการ ที่ไม่ให้ทุสถานีส่งข้มูลพร้อมกัน เพราะจะทำให้ข้อมูลชนกัน วีธีการที่ใช้อาจแบ่งเวลาหรือให้แต่สถานีใช้ความถี่
 4 แบบต้นไม้ เป็นเครือข่ายที่มีการผสมผสานโครงสร้างเครือข่ายแบบต่างๆเข้าด้วยกันเป้นเครือข่ายขนาดใหญ่ การจัดส่งข้อมูลสามารถส่งไปถึงได้ทุกสถานี การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม

วันจันทร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2555




 โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1  เครือข่ายเฉพราะที่   เป็นเครือข่ายที่มักพบเห็นกันในองค์กรโดยส่วนใหญ่ลักษณะของการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวง LAN จะอยู่ในพื้นที่ใกล้๐กันเช่น อยู้ภายในอาคาร
 2  เครือข่ายเมือง เป็นกลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นำมาเชื่อมต่อกันเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น ภายในพื้นที่ใกล้เคียง เช่น ในเมืองเดียวกัน เป็นต้น
3  เครือข่ายบริเวณกว้าง เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นไปอีกระดับ โดยเป็นการรวมเครือข่ายทั้ง LAN และ MAN มาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายเดียว ดังนั้น เครือข่ายนี้จึงครอบคลุมพื้นที่กว้าง โดยมีการครอบคลุมไปทั้วประเทศ หรีอทั่วโลก เชน อินเทอร์เน็ต ซึ่งถือเป็นเครือข่ายสาธารณะที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ

       รูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย Network Topology
 การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย มีรูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย อันเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์และการเดินสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย รวมถึงหลัการไหลเวียนข้อมูลในเครือข่ายแบ่งได้ 4 แบบคือ1เครือข่ายแบบดาว 2เครือข่ายแบบวงแหวน 3เครือข่ายแบบบัส 4เครือข่ายแบบต้นไม้

  1 แบบดาว เป็นแบบการต่อสายเชื่อมโยงโดยการนำสถานีต่างๆมาต่อร่วมกันกับหน่วยสลับสายกลาง การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ด้ยวการติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง การทำงานของหน่วยสลับกลาง
    ลักษณะการทำงานของเครือข่ายแบบดาว
 เป็นการเชื่อมโยงการติดต่อสื่อสารที่มีลักษณะคล้ายรูปดาวหลายแฉก โดยมีสถานีกลาง หรือฮับเป็นจุดผ่านการติดต่อกันระหว่างทุกโหนดในเครือข่าย สถานีกลางจึงมีหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมเส้นทางการสื่อสารทั้งหมด การสื่อสารภายในเครือข่ายแบบดาวจะเป็นแบบ 2 ทิศทางฏกยจะอนุญาตให้มีเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้
 2  แบบวงแหวน เป็นแบบที่สถานีของเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกับเครื่องขยายสัญญาณของตัวเองโดยตะมีการเชื่อมโยงของสัญญาณของทุกสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน เครื่อข่ายสัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่ในการรับข้อมูลจากเครืองขยายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อยๆเป้นวงหากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใด เครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้นก็รับและส่งให้กับสถานี
 3 แบบบัส เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ต่างๆด้วย สายเคเบิ้ลยาว ต่อเนื่องไปเรื่อยๆโดยจะมีอุปกรณ์ที่เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เข้ากับสายเคเบิ้ล ในการส่งข้อมูล จะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆ การจัดส่งข้อมูลวิธีนี้จะต้องกำหนดวิธีการ ที่ไม่ให้ทุสถานีส่งข้มูลพร้อมกัน เพราะจะทำให้ข้อมูลชนกัน วีธีการที่ใช้อาจแบ่งเวลาหรือให้แต่สถานีใช้ความถี่
 4 แบบต้นไม้ เป็นเครือข่ายที่มีการผสมผสานโครงสร้างเครือข่ายแบบต่างๆเข้าด้วยกันเป้นเครือข่ายขนาดใหญ่ การจัดส่งข้อมูลสามารถส่งไปถึงได้ทุกสถานี การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม



 การประยุกต์ใช้งานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
           ระบบเครือข่ายทำให้เกิดการสื่อสารและการแบ่งปันการใช้ทรัพยยากรระหว่างเครื่งคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะหมายทั้งหมด

  รูปแบบการใช้งานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายแบ่งตามลักษณะการทำงาน ได้เป็น 3ประเภท
1  ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง
2  ระบบเครือข่ายแบบ peer-to Peer
3 ระบบเครือข่ายแบบ Client/ Server

              1 ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง
     เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผล ตั้งอยู่ที่ศูนย์กลางและมีการเชื่อมต่อไปยังเครื่องเทอร์มินนอลที่อยู่รอบๆ ใช้การเดินสายเคเบิลเชื่อมต่อกันโดยตรง เพื่อส่งคำสั่งต่างๆ มาประมวลผลท่เครื่องกลางซึ่งมักเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมประสิทธิภาพสูง
               2 ระบบเครือข่ายแบบ peer-to Peer
      แต่ละสถานืงานบนระบบเครือข่าย Peer- to Peer จะมีความเท่าเทียมกันกับสามารถที่จะแบ่งปันทรัพยากรให้แก่กันและกันได้ เช่น การใช้เครืองพิมพ์หรือแฟ้มข้อมูลร่วมกันในเครือข่าย เคริ่องแต่ละสถานีงานมีขีดความสามารถในการทำงานได้ด้วยตัวเอง
               3 ระบบเครือข่ายแบบ Client/ Server
ระบบเครือข่ายแบบ Client/ Server สามารถสนับสนุนให้มีเครื่องลูกข่ายได้เป็นจำนวนมาก และสามารถเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้หลายสถานี ทำงานโดยมีเครื่อง Server ที่ให้บริการเป็นศูนย์กลางอย่างน้อย1เครื่อง และมีการบริหารจัดการทรัพพยากรต่างๆจากส่วนกลาง ซึ่งคล้ายกับระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง

คำสำคัญ
๑. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ

    - สารสนเทศ
ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า  Information  หมายถึง ความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าสารสนเทศเป็นความรู้และข่าวสารที่สำคัญที่มีลักษณะพิเศษทั้งในการได้มาและประโยชน์ในการนำไปใช้ปฏิบัติ

                               เทคโนโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

 สารสนเทศ หมายถึงข่าวสารที่สำคัญเป็นระบบข่าวสารที่กำหนดขึ้นและจัดทำขึ้นภายในองค์การต่างๆ ตามความต้องการของเจ้าของหรือผู้บริหารองค์การนั้นๆ
      สารสนเทศ ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า Information หมายถึง ความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า สารสนเทศเป็นความรู้และข่าวสารที่สำคัญที่มีลักษณะพิเศษทั้งในด้านการได้มาและประโยชน์ในการนำไปใช้ปฎิบัติ
สารสนเทศ มีความหมายตามที่ได้มีการให้คำจำกัดความที่ใกล้เคียงกันดังนี้
         สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลทั้งด้านปริมาณและด้านคุณภาพที่ประมวลจัดหมวดหมู่เปรียบเทียบและวิเคราะห์แล้วสามารถนำมาใช้ได้หรือนำมาประกอบการพิจารณาได้สะดวกกว่าและง่ายกว่า
                                    เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโนยีสารสนเทศหรือ ไอที ( IT)
เป็นเทคโนดลยีที่มีความสำคัญต่อสังคมในปัจจุบันมีความเกี่ยวข้องกับการจัดเก็บการประมวลผลและการแสดงผลสารสนเทศ
                              1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์  จัดเป็นเทคโนโลยีหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคปัจจุบัน เนื่องจากคอมพิวเตอร์มีคุณสมบัติควบถ้วนทั้งด้านการบันทึก การจัดเก็บการประมวล การแสดงผลและการสืบค้นหาข้อมูลสารสนเทศเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์แบ่งเป็นเทคโนโลยีย่อยที่สำคัญ 2 ส่วน คือเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์และเทคโนโลยีซอฟท์แวร์
1.เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ หมายถึงอุปกรณ์ทุกชนิดที่ประกอบขึ้นเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่ต่อพ่วงเพื่อเชื่อมโยงจำนวนตามหน้าที่การทำงานออกเป็น 4 ส่วน
1 หน่วยรับข้อมูล
2 หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู
3 หน่วยแสดงผลข้อมูล
4 หน่วยความจำสำรอง
2.เทคโนโลยีซอฟท์แวร์ (software) หมายถึงโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ผู้ใช้ต้องการ
ซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 2 ประเภท
1. ซอฟท์แวร์ระบบ (System Software) หรือชุดคำสั่งที่ผู้ใช้ส่งเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์ทำงานตามคำสั่ง
2. ซอฟท์แวร์ประยุกต์( Application Software)หมายถึง ชุดคำสั่งที่ผู้ใช้ส่งเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้เครื่องคอมทำนตามที่ผู้ใช้ต้องการ
                          2.เทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม
หมายถึงเทคโนโลยีที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกันทั่วไปเช่นระบบโทรศัพท์ ระบบดาวเทียม ระบบเครือข่ายเคเบิล และระบบสื่อสารอื่นๆที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกัน
ความสำคัญของเทคโนโลยี
- แผนพัฒนาเศรษฐ์กิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 4 ( 2520-2524 ) การมีส่วนร่วมของสารสนเทศเพือการศึกษา
- มีการจัดตั้งศูนย์ประสานงานและปฎิบัติการของระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษาขึ้น
- ในแผนพัฒนาเศรษฐ์กิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่8

วันจันทร์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555


หน่วยที่4

        หน่วยที่4

ซอฟเเวร์ (software)
        คือการลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอรืว่าจะทำอะไรเป็นชุดของโปรเเกรมหลาย ๆ ดปรเเกรมนำมารวมกันให้สามารถทำงานได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ตามที่ต้องการเรามองไม่เห็นหรือสัมผัสไม่ได้เเต่เราสามารถสร้างจัดเก็บเเละนำมาใช้งานหรือเผยแพร่ได้ด้วยสื่อหลายชนิดเช่นเเผ่นบันทึก แผ่นซีดี เเฟล็ชไดร์ฟ ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น
หน้าที่ของซอฟเเวร์
ซอฟเเวร์ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์เเละเครื่องคอมพิวเตอร์ถ้าไม่ซอฟเเวรืเราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลยซอฟเเวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเเบ่งออกได้เป็นหลายประเถท
        ประเภทของซอฟเเวร์เเบ่งเป็น3ประเภทใหญ่ ๆ คือซอฟเเวร์ระบบ (System Software)
ซอฟเเวร์ประยุกต์(Application Software)เเละซอฟเเวร์ใช้งานเฉพาะ
     1.ซอฟเเวร์ระบบ(System Software)
ซอฟเเวร์ระบบเป็นโปรเเกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบหน้าที่การทำงานของซอฟเเวร์ระบบคือดำเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์เช่นรับข้อมูลจาดเเผงเเป้นอักขระเเล้วเเปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจนำข้อมูลไปเเสดงผลบนจอภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์จัดการข้อมูลในระบบเเฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจำรอง(SystemSoftware หรือโปรเเกรมระบบที่รู้จักกันดีคือDOS Windows Unix Linux รวมทั้งโปรเเกรมเเปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับยสูงเช่นภาษาBasic,Fortran,Pascal,Cobol,Cเป็นต้น
  หน้าที่ซอฟเเวร์ระบบ
     1.ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าเเละหน่วยส่งออกเช่นรับรู้การกดเเป้นต่างๆ บนเเผงเเป้นอักขระส่งรหัสตัวอักษรออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์ติดต่อกับอุปกรณ์รับเข้าเเละส่ออกอื่น ๆ เช่น เมาส์ ลำโพงเป็นต้น
     2.ใช้ในการจัดการหน่วยความจำเพื่อนำข้อมูลจากเเผ่นบันทึกทาบรรจุยังหน่วยความจำหลักหรือในทำนองกลับกันคือนำข้อมูลจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้ในเเผ่นบันทึก
     3.ใช้เป็นตัวเขื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้สามาถรใช้งานได้ง่ายขึ้นเช่นการขอดูรายการในสารบบ directory ในเเผ่นบันทึกการทำสำเนาเเฟ้มข้อมุล
ซอฟเเวร์ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไปเเบ่งออกเป็นระบบปฏิบัติการเเละตัวเเปลภาษา
ประเภทของซอฟเเวร์ระบบ
        เเบ่งเป็น2ประเภท
1.ระบบปฎิบัติการ(Operatimg System:OS
2.ตัวเเปลภาษา
     1.ระบบปฎิบัติการหรือที่เรียกย่อ ๆว่าOS เป็นซอฟเเวร์ใช้ในการดูเเลระบบคอมพิวเตอร์เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟเเวร์ระบบปฎิบัตฺการนี้ระบบปฎิบัติการที่นิยมใช้กันมากเเละเป็นรู้จักกันดีเช่น ดอส วินโดวสื ยูนิกซ์ ลีนุกซ์
1. ดอส(Disk Operating System:dos) เป็นซอฟเเวรืจัดระบบงานที่พัฒนามานานเเล้วการใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษรดอสเป็นซอฟเเวรืที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในอดีต ปัจุบันระบบปฏิบัติการดอสนั้นมีการใช้งานน้อยมาก
   2. วินโดวส์(Windows) เป็นระบบปฎิบ้ติการที่พัฒนาต่อจากดอสโดยใผ้ใช้สามาถรสั่งงารได้จากเมาส์มากขึ้นเเทนการใช้แผงเป้นอักขระเพียงอย่างเดียวนอกจากนี้ระบบปฎิบัติการวินโดวส์ยังสามารถทำงานหลายงานพร้อมกันได้โดยงานเเต่ละงานจะอยุ่ในกรอบช่องหน้าต่างบนจอภาพการใช้งานเน้นรูปเเบบกราฟิกผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้เพื่อเลือกตำเเหน่งที่ปรากฎบนจอภาพทำให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้งานระบบปฎบัติการวืนโดวส์จึงได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน
   3.ยูนิกส์(Unix) เป็นระบบปฎิบบัติการที่พัฒนามาตั้งเเต่ครั้งใช้กับเครื่องมินืคอมพิวเตอร์ระบบปฎิบัติการยูนิกส์เป็นระบบปฎิบัติการที่เป็นเทคโนโลยีเเบบเปิด open system ซึ่งเป็นเเนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณ์ที่มียี่ห่อเดียวกันยูนิกส์ยังถูกออกเเบบมาเพื่อตอบสนองการใช้งานในลักษณะที่มีผู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกันที่เรียกว่ระบบหลายผู้ใช้ nultiusers เเละสามารถทำงานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกันในลักษณะที่เรียกว่าระบบหลายภารกิจnultipaskingระบบปฏิบัติการยูนิกส์จึงนิยมใช้กับเครื่องที่เชือมโยงในเครือข่ายเพื่อใช้งานร่วมกันหลาย ๆ เครื่องพร้อมกัน
   4.ลีนุกส์  เป็นระบบปฏิบัติการที่พัมนาทาจากระบบยูนุกส์เป็นระบบซึ่งมีการเเจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับใหน้กพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการลีนิกส์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นเนื่องจากมีโปรเเกรประยุกต์ต่างที่ทำงานบนระบบยูนิกสืจำนวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรเเกรมในกลุ่มของกูส์นิวเเละสิ่งที่สำคัญที่ก็ค์อระบบลีนุกส์
ระบบลีนุกส์สามาทำงานได้บนซีพียุหลายตระกลู เช่น อินเทล PC Intel ดิจิตอล Digital Alpha Computer gเเละซันสปาร์คSUNSPARCถึงเเม้ว่าในขณะนี้ลีนุกซ์ยังไม่สามารถเเทนที่ระบบปฏิบัติการวินโดว์สบนพีซีได้ทั้งหมดก็ตาม เเต่ผู้ใช้จำนวนมากได้หันมาใช้เเละช่วยพัฒนาโปรเเกรมประยุกต์บนลีนุกส์กันมากขึ้น
    5.เเคอินทอส เป็นระบบปกิบัติการสำรองไมโครคอมพิวเตอร์ เเมคอินทอส ส่วนมากนำไปใช้งานด้านกราฟิก ออกแบบ เเละจัดเเต่งเอกสารนิยมใช้ในสำนักพิมพ์ต่าง ๆ นอกจากระบบปฏิบัติการที่กล่าวมาแล้วยังมีนะบบปฏิบัติการอีกมากเช่นระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อให้คอมพิวทำงานร่วมกันเป็นระบบเช่นระบบปฏิบัติการเน็ตเเวร์นอกจากนี้ยังมีระบบปฏิบัติการที่ใช้งานเฉพาะกับคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึนมาเพื่องานใดงานหนึ่งดดยเพาะซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
ชนิดของระบบปฏิบัติการ จำแนกตามการใช้งานได้เป็น3ชนิด
   1.ประเภทใช้งานเดียว single-tasking
 ระบบปฏิบัติงานประเภทรี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละงานเท่านั้นใช้ในเครื่องขนาดเล็กอย่างไมโครคอมพิวเตอร์เช่นระบบปฏิบัติการดอสเป็นต้น
   2ประเภทใช้หลายงาน multi-tasking
ระบบปฏิบัติการประเภทนี้สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกันผู้ใช้สามารถทำงานกับซอฟเเวร์ประยุกตืได้หลายชนิดในเวลาเดียวกันเช่นระบบปฏิบัติการวินโดวส์ 98ขึ้นไปเเละunix เป็นต้น
   3.ประเภทใช้งานหลายคน Multi-user
ในหน่วยงานบางเเห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผลทำให้ในขณะใดขนาดหนึ่งมรผุ้ใช้คอมพิวพร้อมกันหลายคนเเต่ละคนจะมีสถานีงานของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอรืจึงต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูงเพื่อให้ผู้ใช้ทุกคนสามารถทำงานเสร็จในเวลาเช่นระบบปกิบัติการวืนโดว์ส NT เเละ unix เป้นต้น

2.2 ซอฟแวร์ปรยุกต์ Application Software  ที่ใช้ร่วมกันคอมเพื่อใช้ทำงานเฉพะด้านเช่นการจัดพิมพ์ราบยงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี ตกแต่งภาพ ออกแบบเว็บไซต์เป็นต้น
ประเถทของซอฟแวร์ประยุต์
จำนกได้2ประเภท
1.ซอฟแวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ Peoprietary Software
2.ซอฟเเวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป Packaged Software มี่ทั้งโปรเเกรมเฉพาะ Customizea Package เเละโปรเเกรมมาตราฐานStandardpackage
แบ่งกลุ่มใช้งานได้3กลุ่ม
1. กลุ่มใช้งานด้านธุรกิจ Business
2. กลุ่มใช้งานด้านกราฟิกเเละมัลติมิเดีย Garphicp and Multimedia
3. กลุ่มการใช้งานบนเว็บWeb and communications
กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ
เพื่อมุ่งหวังให้งานมีประสิทธิถาพมากขึ้นเช่นการจัดพิมพ์รายงานเอกสาร นำเสนองาน การบันทึกนัดหมายต่าง ๆ เช่นโปรเกรมประมวลคำ อาทิ Microsoft Word Sun Staroffice Writer
โปรแกรมทตารางคำนวน อาทิ Microsoft Excel   Sun  Staroffice  cals
โปรแกรมนำเสนองาน อาทิ   Microsoft  PowerPoint Sun Staroffice Impress
กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิกเเละมัลติมิเดีย
เพื่อช่วยในงานกราฟิกเเละมัลติมิเดีย เช่น ใตกเเต่ง วาดรุป ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหว
 และการสร้างเเละออกเเบบเว้บไซต์เช่น
1. โปรเเกรมงานออกเเบบอาทิ Microsoft visio Professional
2. โปรเเกรมตกเเต่งภาพ อาทิ CoreIDRAW Adobe Photoshop
3. โปรเเกรมตัดต่อวีดีโอเเละเสียง อาทิ Adobe Premiere Pinnacle Studio DV
โปรเเกรมสร้างสื่อมัลติมิเดีย อาทิ Adobe Authorware Toolbook Instructor Adobe Director
โปรเเกรมสร้างเว็บอาทิ  Adobe Flash Adobe Dreamweaver
กลุ่มการใช้งานบนเว็บ เเละ การติดต่อสื่อสาร
เมื่อเกิดการเติบโตของอินเตอร์เน็ตซอฟเเวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรเเกรมตรวจเช็คอีเมล การท่องเว็บไซตื การจัดการดูแลเว็บ และการส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่นเครือข่ายตังอย่างโปรเเกรมในกลุ่มนี้ได้เเก่
โปรเเกรมจัดการอีเมลอาทิ Microsoft Outlook Mozzila Thunderbird
โปรเเกรมท่องเว็บอาทิ Microsoft Internet Explorer Mozzila Firefox
โปรเเกรมประชุมทางไกล Video Conference Microsoft Netmeeting
โปรเเกรมส่งข้อความด่วน(Instant Messaging อาทิ MSN Messenger/Windows Messenger ICQ
โปรเเกรมสนทนาบนอินเทอร์เน็ต อาทิ PIRCH MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟเเวร์
การใช้ภาษาเครื่องนี้เเม้ว่าคอมจะเข้าใจได้ทันทีเเต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเข้าใจเเละจดจำได้ยากจึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่าภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวนทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล
ซอฟเเวร์เเละภาษาคอมพิวเตอร์
เมื่อมนูษย์ต้องการใช้คอมช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมทราบการที่สิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมรับรู้เเละทำงานด้อย่างถูกต้องจำเป้นต้องมีสื่อกลางถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันเเล้งเรามีภาษาที่ใช้มนกสนติดต่อซึ่งกันเเละกันเช่นเดียวกันถ้ามนุษบย์ต้องจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมรับรู้เเละปฏิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมรับรู้เราเรียกสื่อกกลางนี้ว่าภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมในเเต่ละยุคประกอบด้วย
ภาษาเครื่อง Machine languages
เนื่องจากคอมทำงานด้วยสัญณาณทางไฟฟ้าใช้เเทนด้วยตัวเลข0 เเละ1 ได้ผู้ออกเเบบคอมใช้0เเละ1เเทนคำสั่งใน๓ษาคอม รหัสเเทนข้อมูลเเละคำสั่งโดยใช้ระบบเลขฐาน2 คอมสามารถเข้าใจได้เราเรียกเลขฐาน2 ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งเเละใช้สั่งว่าภาษาเครื่อง
การใช้ภษาเครื่องนี้ถึงเเม้คอมจะเข้าใจได้ทันทีเเตผู้ใช้จะมีข้อยุ่งอยากมากเพราะเข้าใจเเละจดขำได้อยากจึงมีผู้สร้างภาษาคอมในรูปแบบอื่นที่เป็นตัวอักษร
ภาษาเเอสเซมบลี Assembly Languagesages
เป็นภาษาคอมในยุคที่2 ถัดจากภาษาเครือง ภาเเอสเซมบลีช่วยลดความยุ่งยากลงในการเขียนโปรเเกรมเพื่อติดต่อกับคอม
เเต่อย่างไรก็ตามภาเเอสฌซมบลีก้ยังมีความใกล้เคียงภาษาเครืองอยู่มากและจำเป็นต้องใช้ตัวเเปลภาษาที่เรียกว่าเเอสเซมเบลอร์ Assemblerเพื่อเเปลชุดภาษาเเอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง
ภาษาระดับสูงHigh-Level Languages
เป็นภาษาคอมในยุคที่3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เยกว่า Statements ที่มีลักษระเป็นประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้เขียนโปรเเกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้คอมทำงานง่ายขึ้นผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้เเละเขียนโปรเเกรมได้ง่ายขึ้นเนืองจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงภาษามนุษย์ตัวเเปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้นมีอยู่2ชนิด ด้วยกันคือ
 คอมไพเลอร์ Conpiler เเละอินเทอรืพรีเตอร์ Interpreter
ภาษาไพเลอร์  จะทำการเเปลโปรเเกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูง ทั่งโปรเเกรม ให้เป็นภาษาเครื่องก่อน
เเล้วจึงให้คอมทำงานตามภาษานั้น
อินเตอร์พรีเตอร์จะทำการแปลทีละคำสั่ง เเล้วให้คอมทำตามคำสั่ง เมื่อเสร็จเเล้วจึงมาทำการเเปลคำสั่งลำดับต่อไป ข้อเเตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์พลีเตอร์จึงอยู่ที่การเเปลทั้งโปรเเกรมหรือแปลที่ละคำสั่ง
    การทำงานของระบบ network และ internet

วันจันทร์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555


หน่วยที่4
ซอฟต์แวร์(software)
        คือ การลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไร เป็นชุดของโปรแกรมหลายๆโปรแกรมนำมารวมกันให้สามารถทำงานได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ตามที่ต้องการ เรามองไม่เห็นหรือสัมผัสไม่ได้แต่เราสามารถสร้าง จัดเก็บ และนำมาใช้งานหรือเผยแพร่ได้ด้วยสือหลายชนิดเช่น แผ่นบันทึก แผ่นซีดี แฟล็ชไดร์ฟ ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น
 หน้าที่ของซอฟต์แวร์
      ซอฟแวร์ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟแวร์ เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรเลย ซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท